รับปรับความเร็วเว็บไซต์
รับปรับความเร็วเว็บไซต์ โดยทีมงานมืออาชีพ การันตีผลงาน 100%
- SEO Audit EP 6
EP 6. SEO Audit
หากเราทำ SEO โดยการ ปรับ Onpage และ ทำ Backlinks เรียบร้อยแล้ว สิ่งต่อมาที่ควร ทำคือ ตรวจสอบข้อบกพร่องของเว็บไซต์ ทั้งด้านหน้าที่เกิดปัญหา (Error Pages) และสิ่งที่เราควรปรับแก้ไข การทำ SEO Audit คือการทำ Checklist ด้าน SEO เป็นการเก็บรายละเอียด / วิเคราะห์ มีเครื่องมือที่สามารถใช้งานได้ฟรีๆ มาแนะนำSEO Audit คืออะไร
กระบวนการวิเคราะห์เว็บไซต์ว่าแสดงผลอย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ ตรวจสอบวินิจฉัยปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำอันดับ คะแนนของการทำ SEO Audit แต่ละเว็บไซต์จะได้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับจำนวนการตรวจสอบปัจจัยต่างๆ บางที่มีตรวจเช็ค แผนผังเว็บไซต์ (Sitemap) ข้อมูล Meta data , เนื้อหา, ปัจจัยภายใน (On-Page), ปัจจัยภายนอก (Off-Page), Traffic, Keyword Research เป็นต้น5 อันดับเว็บไซต์สำหรับการทำ SEO Audit
พี่สุมี 5 เว็บไซต์ที่เหมาะสำหรับทำ SEO Audit โดยเราสามารถใช้งานทั้งหมดพร้อมกันได้เลยแต่ละเว็บจะแจ้งข้อบกพร่องไม่เหมือนกัน อาจจะต้องใช้วิจารณญาณในความเชื่อแต่ละเว็บด้วยSEO Tester Online
เป็นเว็บไซต์สำหรับตรวบสอบ Onpage และ Speed ได้ส่วนหนึ่งพร้อมบอกข้อแก้ไขและสรุปคะแนนมาให้ https://www.seotesteronline.com/SEO Site Checkup
เป็นเว็บไซต์สำหรับตรวจสอบด้าน SEO Onpage ว่ามีจุดไหนที่ยังไม่ได้ปรับแต่ง https://seositecheckup.com/SEOptimer
เป็นเว็บสำหรับดูภาพรวมด้าน SEO,Performance, Security, Usabillity https://www.seoptimer.com/Sitechecker Pro
สำหรับตรวจสอบข้อแก้ไขแบ่งออกเป็น 3 หมวด ควรต้องแก้ไขให้เร็วที่สุด , ควรแก้ไข , แก้ไขหรือไม่ก็ได้ https://sitechecker.pro/SEO Analysis by neilpatel
เป็นเว็บไซต์ที่สรุปรวมได้ดีที่สุด สามารถตรวจสอบทั้ง SEO Onpage และ SEO Offpage ได้ในเวลาเดียวกัน https://neilpatel.com/seo-analyzer/ - ปัจจัยภายนอก SEO Offpage EP 5
EP 5. SEO Offpage
ปัจจัย SEO ภายนอก (SEO Offpage) เป็นเหมือนดาบสองคม หากใช้งานถูกต้องจัดว่าเป็นอาวุธที่ทรงอานุภาพ หากใช้ผิดวิธีอาจเป็นผลทำลายล้างตัวเอง ดังนั้นต้องควบคุมมันให้ดี หลังจากเด็กหนุ่มขี้สงสัยได้ปรับแต่ง SEO Onpage เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ถึงเวลาที่ต้องรู้อีกปัจจัยที่มีผลต่อ SEO อีกอย่างบทสนทนาเรื่อง SEO Offpage
PageSpeedUp : สวัสดีค่ะ PageSpeedUp เรียกย่อๆ PSU หรือภาษาไทย พี่สุ ก็ได้ค่ะ
เด็กหนุ่ม ?? : ผมปรับ SEO Onpage หัวข้อที่ 1 เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ เนื่องด้วย หัวข้อ ที่ 2 และ 3 ผมไม่ค่อยเข้าใจเท่าไร ผมสามารถทำ SEO Offpage ได้เลยหรือเปล่าครับพี่สุ : การทำ SEO ปัจจัยภายนอก เป็นขั้นตอนที่สามารถทำได้ตลอดหากทำถูกวิธีจะไม่เกิดผลข้างเคียงใดๆ แต่หากทำแบบผิดวิธีอาจจะเป็นผลร้ายแรงที่จะทำให้เว็บไซต์ของเรา ไม่สสามารถหาเจอใน Google ได้อีกเลย (Google Penalty) หรือที่เราคุ้นๆ กับคำว่า หลุมทราย (Sandbox)
เด็กหนุ่ม ?? : ครับ แล้วผมต้องทราบรายละเอียดอะไรบ้างพี่สุ : มันคือกระบวนการที่ทำให้มีคนรู้จักเว็บไซต์เรามากยิ่งขึ้น มีการพูดถึงนั่นเอง แต่ด้วยการพูดถึงนั้น ในรูปแบบเว็บไซต์เป็นลักษณะการเชื่อมโยงหากัน หรือเรียกสั้นๆว่า ลิงค์ (Link) ซึ่งเป็นลิงค์ที่มาจากภายนอกเว็บไซต์ของเรา แบคลิงค์ (Backlinks)
เด็กหนุ่ม ?? : แล้วผมต้องทำอย่างไรจึงจะได้ Backlinks ที่ว่านี้ครับ ?พี่สุ : เราสามารถสร้างขึ้นเอง / มีคนสร้างให้ได้ ในกรณีแรกเรียกว่า การสร้างแบคลิงค์ (Links Building) หากมีคนสนใจบทความของเรา และได้นำไปแชร์ หรือเผยแพร่ พร้อมให้เครดิตและลิงค์มาที่เว็บไซต์ของเรา ก็จะนับว่าเป็น Backlink ที่เกิดจากคนอื่นสร้างให้ได้ค่ะ
พี่สุ : แต่ก่อนอื่นพี่สุอยากอธิบายเรื่องลิงค์ก่อน ในการเก็บข้อมูลของ Robot Google นั้นจะแยกประเภทลิงค์เป็นสองแบบด้วยกัน Do Follow และ No Follow ทั้งสองแบบนี้ต่างกันอย่างไร
ความหมายของลิงค์แบบ Do Follow และ No Follow
- Do Follow หมายถึง ให้ Robot ของ Google ไล่ตามลิงค์นี้ไปยังเว็บเป้าหมาย
- No Follow หมายถึง ไม่ให้ Robot ของ Google ไล่ตามลิงค์นี้ไปยังเว็บเป้าหมาย
พี่สุ : วิธีดูสามารถดูได้จาก Tag ของ a จะมีการใช้ attibute ที่ชื่อว่า rel <a href=”URL ที่ต้องการลิ้งค์ ” rel=dofollow>ข้อความ <a href=”URL ที่ต้องการลิ้งค์ ” rel=nofollow>ข้อความ และภายในหน้าเว็บไซต์บนส่วนของ <meta name=”robots” content=”dofollow”> <meta name=”robots” content=”nofollow”>
เด็กหนุ่ม ?? : การ Share เว็บไซต์ลงบน Facebook ถือว่าเป็น Backlink หรือเปล่าพี่สุ : ใช่ค่ะ นับว่าเป็น Backlink ที่มาจาก Facebook แต่จะเป็นรูปแบบ No Follow ค่ะ
เด็กหนุ่ม ?? : แบบนี้ Google ก็ไม่ตามเก็บข้อมูลต่อสิครับพี่สุ : ใช่ค่ะ แต่ทางกลับกันจะทำให้มีคนรู้จักเว็บไซต์เรามากยิ่งขึ้น ล้วนแล้วแต่เป็นผลดีค่ะ
เด็กหนุ่ม ?? : งั้นผมคงต้องแชร์ลง Facebook Page บ่อยๆแล้วสิครับพี่สุ : Facebook นับเป็น Backlinks ประเภท Social Media ยังมี Backlinks อีกหลายประเภทที่ก่อให้เกิดผลดีด้วย เช่นมีการพูดถึงตามเว็บบอร์ดใหญ่ๆ เช่น Pantip ยกตัวอย่างมีคนแนะนำรีวิวสินค้าจากทางร้านของเราแล้วมีการพูดคุยในเว็บบอร์ดพร้อมแนบลิงค์ที่อยู่เว็บไซต์ของเราด้วย ก็จะนับเป็น Backlink เช่นกัน
เด็กหนุ่ม ?? : เหมือนการจ้าง influencer โปรโมทร้านใช่ไหมครับ ?พี่สุ : ใช่แล้ว ยิ่งมีคนดังพูดถึงเราบ่อยๆ เราก็จะมีชื่อเสียงไปด้วย เป็นลักษณะเดียวกัน แต่บางอย่างเราสามารถทำได้ด้วยตนเองค่ะ
เด็กหนุ่ม ?? : หากมีคนที่เขาเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเด็กเล็กมาช่วยรีวิวจะมีผลดีขึ้นกว่าคนปกติไหมครับพี่สุ : แน่นอน ในทางเว็บไซต์หากมีการพูดถึงจากเว็บไซต์ประเภทเดียวกัน ทำให้เพิ่มความน่าเชื่อถือมากขึ้นและมีพลังมากกว่าปกติ เราสามารถตรวจสอบได้ว่าเว็บไหนดังไม่ดัง โดยสามารถดูจาก (moz da pa)
เด็กหนุ่ม ?? : เอ๋ moz da pa คืออะไรครับพี่สุ : DA (Domain Authority) กับ PA (Page Authority) เป็นคะแนนที่ Moz เป็นคนกำหนด ซึ่งมาตรฐานเขาวัดจากความหน้าเชื่อถือของโดเมน และหน้าเว็บ ซึ่งแยกกันค่ะ สามารถตรวจสอบ DA PA ได้ที่ https://websiteseochecker.com/bulk-check-page-authority/
อธิบายเพิ่มเติม DA PA คืออะไร
DA คืออะไร
DA หรือ Domain Authority เป็นการให้ลำดับคะแนน 1-100 จากเว็บไซต์ MOZ บริษัทพัฒนาซอฟต์แวร์การคลาด โดยการให้คะแนน DA มาจากปัจจัยต่างๆ เช่น จำนวนลิงค์, MozRank, MozTrust,อายุเว็บไซต์ หรือความนิยม เป็นต้น มาใช้เป็นหลักพิจารณา ยิ่งคะแนนเยอะ ก็ยิ่งส่งผลดีต่อการติดอันดับบน GooglePA คืออะไร
เหมือนกับ DA เพียงแต่การให้คะแนนจะแบ่งออกเป็นการให้คะแนนในแต่ละหน้าเพจ ซึ่งแต่หละหน้าเพจมีการให้คะแนนไม่เหมือนกัน หลักพิจารณาหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น จำนวนlink, MozTrust,อายุเว็บไซต์ และอีกหลายปัจจัย มาใช้เป็นเกณฑ์ในการปรับปรุงหน้าเพจให้เหมาะสม เพื่อเพิ่มคะแนน PA นั้นเอง เด็กหนุ่ม ?? : แบบนี้นี่เอง แต่ผมไม่สามารถหา Backlinks ได้ผมต้องทำอย่างไรครับพี่สุ : ถึงเวลาขายของพี่สุมีบริการรับทำ SEO ซึ่งมีการทำ Backlinks ให้อย่างมีคุณภาพ พร้อมทั้งการปรับแต่ง SEO Onpage และการวิเคราะห์ keyword เพื่อเพิ่มการเข้าถึงของลูกค้า อีกทั้งแนะนำเรื่องการตลาดทางอินเทอร์เน็ต
พี่สุ : จริงๆแล้วเราสามารถค้นหา Backlinks ได้โดยการเข้าถึงเว็บที่มีคนรู้จักเยอะๆเป็นต้นครับ ยกตัวอย่างง่ายๆ Facebook, Youtube, Pantip เป็นต้น
เด็กหนุ่ม ?? : ขอบคุณมากครับ ใน EP ต่อไปพบกับการตรวจสอบเว็บด้าน SEO (การทำ SEO Audit) - ปัจจัยภายใน SEO Onpage EP 4
EP 4. SEO Onpage
ถึงเวลาที่เราต้องเตรียมตัวกลับไปตรวจสอบเว็บไซต์แล้วหรือยัง ?? ใน EP นี้จะเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับปัจจัย SEO ที่เราสามารถดำเนินการปรับแต่งภายในเว็บไซต์ โดยจะแบ่งเป็นรายการต่างๆ แต่หากยังไม่พร้อมให้กลับไปที่ รู้จักกับ Keywords ตามด้วย ปัจจัยที่มีผลต่อ SEO ถ้าพร้อมแล้วไปลุยกันเลยบทสนทนาเรื่อง SEO Onpage
PageSpeedUp : สวัสดีค่ะ PageSpeedUp เรียกย่อๆ PSU หรือภาษาไทย พี่สุ ก็ได้ค่ะ
เด็กหนุ่ม ?? : หลังจากที่ผมได้ปรึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อ SEO แล้ว ผมพร้อมที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับ ปัจจัยภายใน (SEO Onpage) มีอะไรบ้างพี่สุ : พี่สุจะแบ่งออกเป็น 3 หัวข้อ ตามความเข้าใจพี่สุนะคะ 1. การนำ Keyword ไปใช้ในโครงสร้างต่างๆ (Onpage) 2. การตรวจสอบด้านปัญหาของเว็บไซต์ (Technical) 3. การเพิ่มลูกเล่นให้เนื้อหา (Content)
เด็กหนุ่ม ?? : ครับการนำ Keyword ไปใช้ในโครงสร้างต่างๆ (Onpage)
พี่สุ : เราต้องนำ Keywords ที่เราต้องการทำอันดับ ไปใช้ในที่ต่างๆดังนี้
- ใน URL เว็บไซต์ของเรา เช่น pagespeedup.co/seo-onpage
- ใน Title หรือหัวเรื่อง
- ใน 150 คำแรกของบทความ
- ในหัวข้อใหญ่ H1, H2, H3, H4 เป็นต้น
- ในรูปภาพ ในส่วนรูปภาพจะมี tag ที่ชื่อว่า alt (alternative)
- ใช้ Keywords ที่เกี่ยวข้องบทความ (LSI Keywords)
- ใช้ในการอ้างอิงเว็บภายนอก (External Links)
- ใช้ในการเชื่อมโยงภายใน (Internal Links)
การตรวจสอบด้านปัญหาของเว็บไซต์ (Technical)
พี่สุ : หากเว็บไซต์ยังมีหน้า errors หรือจุดบกพร่องเป็นผลทำให้ Robot ของ Google เข้ามาเก็บข้อมูลได้ล่าช้า พบปัญหา หรือเก็บข้อมูลไม่สมบูรณ์ อาจเป็นผลเสียต่อ SEO ได้ โดยสิ่งที่เราต้องตรวจสอบ / ปรับปรุง / พัฒนา พี่สุจะแบ่งดังนี้
- ตรวจสอบหน้า Error 404 หน้าเว็บที่เข้าไม่ได้
- ตรวจสอบว่า Google Robot มาเก็บข้อมูลหรือไม่
- ปรับปรุงแก้ไขลิงค์ที่ไม่สามารถใช้งานได้ (Broken Links)
- ปรับปรุงเว็บไซต์ของคุณให้ปลอดภัยด้วย HTTPS (Hypertext Transfer Protocol Secure)
- พัฒนาเว็บไซต์ให้รองรับมือถือ (Mobile-Friendly)
- พัฒนาเว็บไซต์ให้เข้าถึงได้รวดเร็ว (Pagespeed)
การเพิ่มลูกเล่นให้เนื้อหา (Content)
พี่สุ : ในส่วนหนึ่งของบทความ/เนื้อหาควรเพิ่มลูกเล่นต่างๆเพื่อให้มีความหลากหลาย เข้าถึงง่าย เป็นมิตรต่อผู้ใช้งาน มีรายละเอียดดังนี้
- เขียนเนื้อหาให้อ่านเข้าใจได้ (Readability)
- เขียนเนื้อหาให้น่าสนใจ
- ใช้ Schema Markup / Data Structure อธิบายเพิ่มเติม ตรวจสอบได้ที่ https://search.google.com/structured-data/testing-tool/u/0/
- ใช่สื่อต่างๆ เช่นรูปภาพ วิดีโอ เป็นต้น
พี่สุ : ในทุกๆหัวข้อ เราสามารถทำได้เลย เริ่มต้นจากส่วนไหนก่อนก็ได้ แต่พี่สุให้มุ่งเน้นที่หัวข้อแรกก่อนเลยค่ะ
เด็กหนุ่ม ?? : ขอบคุณครับ ขอตัวไปปรับเว็บไซต์ของผมก่อนนะครับพี่สุ : ค่ะ
หลังจากนั้นเด็กหนุ่มก็เงียบหายไปเป็นเวลานาน พี่สุคาดการณ์ว่าหากมีการเริ่มปรับแล้วมีคำถามหรือข้อสงสัยจะนำมาเพิ่มให้ทีหลังที่ EP นี้แหละค่ะ สามารถกลับมาอ่านย้อนหลังได้นะคะ ใน EP ต่อไปพบกับ ปัจจัยที่มีผลต่อ SEO ภายนอก (SEO Offpage) มีอะไรบ้าง เรื่องราวจะเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ
Pagespeed Insights หรือ Google Page Speed คืออะไร ?
Pagespeed Insights หรือ Google Page Speed คืออะไร ?
เมื่อพูดถึงเรื่อง page speed เราจึงต้องพูดถึงบริการของ google ที่ออกแบบระบบมาเพื่อทดสอบ
ความไวในการเข้าถึงเว็บไซต์ ซึ่งทาง google page speed จะมีการให้คะแนนโดยอ้างอิงจาก
สาเหตต่างๆที่ทำให้หน้าเว็บมีการโหลดช้า
โดยมาตรฐาน google เองจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือด้าน สมาทโฟน(mobile) และ เดสทอป(desktop)
ซึ่งในสองส่วนนี้เอง คือการแยกผู้ใช้งานว่ามีการเข้าถึงเว็บจากที่ใด เพราะว่าบางเว็บไซต์นั้น
ได้มีการออกแบบเพื่อรองรับ ด้านสมาทโฟนด้วย
แน่นอนว่ายิ่งคะแนนเยอะ ยิ่งทำให้ google มองว่าเว็บไซต์นั้นสามารถเข้าถึงได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
PAGE SPEED
บริการของ google ที่ออกแบบระบบมาเพื่อทดสอบ ความไวในการเข้าถึงเว็บไซต์ ชื่อว่า Google page speed โดยมาตรฐาน google
GOOGLE MOBILE
ผู้ใช้งานมีการเข้าถึงเว็บจาก โมบาย(Mobile) คะแนนเว็บไซต์ ส่วนที่มีการเข้าใช้งานจากอุปกรณ์ โมบาย(Mobile)
GOOGLE DESKTOP
ผู้ใช้งานมีการเข้าถึงเว็บจาก เดสทอป(Desktop) คะแนนเว็บไซต์ ส่วนที่มีการเข้าใช้งานจากคอมพิวเตอร์ เดสทอป(Desktop)
GOOGLE RANK
แน่นอนว่ายิ่งคะแนนเยอะ ยิ่งทำให้ google มองว่าเว็บไซต์นั้นสามารถเข้าถึงได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
ทำไม? ต้องใช้บริการ PageSpeedUP.co
พึงพอใจของลูกค้า
ด้วยความเชื่อมั่น และยึดความพึงพอใจของลูกค้าเป็นสำคัญ ในทุกๆ บริการของ เรากล้าการันตีในผลงาน ทำไม่ได้ตามเกณฑ์ที่ตกลง และหรือไม่สามารถสร้างความประทำใจให้ลูกค้า
การันตีบริการ 100%
เรายินดีคืนเงินค้าบริการ 100% เพื่อให้คุณมั่นใจได้ว่าทุกๆ ครั้งในการใช้บริการ จะไม่ผิดหวังแน่นอน
Image Optimize
เพราะเรา..ทำการปรับขนาดภาพให้เหมาะสมโหลดเร็ว
CSS Javascript Optimize
เราจะ..เพิ่มประสิทธิภาพ CSS และ Javascript
Cache Optimize
เพราะเรา..ทำระบบแคช (Cache) ให้คุณ!!
Data Base
เราจะทำการเพิ่มประสิทธิภาพของฐานข้อมูล
Plugin Manegement
เราจะ..จัดการปลั๊กอินสำหรับการใช้งานให้เหมาะสม
Waranty 100%
เพราะเรากล้าการันตี ทำไม่ได้ คืนเงิน 100%
เพราะเรา..ทำการปรับภาพให้เหมาะสม (Image Optimize)
เพื่อให้เว็บไซต์ของคุณมีประสิทธิภาพที่ดีที่สุด เราจะทำการปรับรูปภาพต่างๆ ในไซต์ให้เหมาะสมกับการใช้งานที่สุด ด้วยเทคนิคเฉพาะ Performance Image Optimize ของเรา เว็บไซต์ของคุณจะมีภาพที่เหมาะกับการใช้งานที่สุด เราจะติดตั้งระบบ Image Optimize อัตโนมัติให้คุณ ดังนั้นทุกๆ โพสต์ที่คุณอัพโหลดหลังจากที่เราปรับระบบ จะได้ภาพที่เหมาะสมที่สุด
เราจะ..เพิ่มประสิทธิภาพ CSS และ Javascript
อีกหนึ่งปัจจัยที่สำคัญที่สุดสำหรับการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเว็บไซต์คุณ นั่นคือการรวมและลดขนาดของไฟล์ CSS และ Javascripts โดยเราจะทำการย่อและย้ายตำแหน่งไปวางในจุดที่เหมาะสมที่สุดของของเว็บไซต์คุณ แต่สามารถทำงานได้ดีเช่นเดิม ซึ่งการประมวลผล JS อย่างรวดเร็วนี้ ยังช่วยเสริมคะแนน SEO และประสบการณ์ของผู้เข้าชมเว็บไซต์ของคุณได้ด้วย
เพราะเรา..ทำระบบแคช (Cache) ให้คุณ!!
ถ้าจะทำ Performance ให้เจ้า CMS อย่าง WordPress แน่นอนระบบแคชดีๆ ต้องมีมา เราจะล้วงเข้าไปทำระบบแคชให้เว็บไซต์ของคุณให้ทันสมัยที่สุด ไม่ว่าจะเป็นพวก AJAX หน้าเพจแบบไดนามิกต่างๆ และเพิ่มข้อยกเว้นการแคชสำหรับบางหน้า หรือเนื้อหาที่ควรยกเว้น
เรามองว่า การแคช นั่นสำคัญยิ่ง เพราะการแคชช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเว็บไซต์ของคุณ ทั้งในด้านของคะแนน SEO และที่สำคัญ การแคชยังช่วยสร้างประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้นให้กับผู้เยี่ยมชม (ก็แหง่ล่ะ..เว็บโหลดเร็ว ใครๆ ก็ชอบครับ)
เราจะทำการเพิ่มประสิทธิภาพของฐานข้อมูล
การ Optimize ฐานข้อมูลให้มีการเรียกใช้งานได้รวดเร็วอยู่เสมอนั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อ Performance ของไซต์เป็นอย่างมาก เราจะใช้เครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพฐานข้อมูลให้ไซต์ของคุณ โดยลดการทำงานในคำสั่งที่ซ้ำซ้อน ตรวจสอบความผิดปกติของฐานข้อมูล แล้วทำการจัดเรียงฐานข้อมูลใหม่ให้สามารถใช้งานได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
เราจะ..จัดการปลั๊กอินสำหรับการใช้งานให้เหมาะสม
ปลั๊กอิน (Plugin) ถือว่าเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยเพิ่มความสามารถให้กับ WordPress แต่กลับกันบางครั้งปลั๊กอินที่ทำงานไม่ถูกต้องหรือทำงานซ้ำซ้อนอาจส่งผลให้เกิดปัญหาด้านประสิทธิภาพ เราจะจัดการ Plugin สำหรับการใช้งานให้เหมาะสมที่สุด เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
เพราะเรากล้าการันตี ทำไม่ได้ คืนเงิน 100%
ด้วยความเชื่อมั่น และยึดความพึงพอใจของลูกค้าเป็นสำคัญ ในทุกๆ บริการของ เรากล้าการันตีในผลงาน ทำไม่ได้ตามเกณฑ์ที่ตกลง และหรือไม่สามารถสร้างความประทำใจให้ลูกค้า เรายินดีคืนเงินค้าบริการ 100% เพื่อให้คุณมั่นใจได้ว่าทุกๆ ครั้งในการใช้บริการ จะไม่ผิดหวังแน่นอน
ผลตอบรับของลูกค้า
ความพึงพอใจของลูกค้าที่ให้ความไว้วางใจในบริการของเรา
“Lorem ipsum dolor sit amet, commodo erat adipiscing elit. Sed do eiusmod tempor incididunt ut labore dolore. Duis enim elit porttitor id feugiat.”
Susan Harris, Owner of Wonka
PageSpeedUp.co
เราคือทีมที่มีความชำนาญในการเพิ่มประสิทธิภาพ และเพิ่มความเร็วให้กับเว็บไซต์ WordPress เรามุ่งเน้นในการปรับปรุงและพัฒนาประสบการณ์ที่ดีของผู้เยี่ยมชมเป็นสำคัญ ซึ่งแน่นอนสิ่งเหล่านั้นส่งผลที่ดีต่อ SEO และดีสำหรับธุรกิจของคุณ
เราทราบได้ถึงความกังวลของคุณ เราเรียนรู้และมีประสบการณ์จากลูกค้าส่วนหนึ่งของเรา และวันนี้เรามีความมั่นใจและตั้งใจ ที่จะใช้ประสบการณ์และความชำนาญนี้ ช่วยพัฒนาเว็บไซต์ และธุรกิจของคุณให้เข้าสู่การแข่งขันที่ยิ่งใหญ่
แน่นอน!! เรามีความสุขทุกครั้งที่ได้ทำงานร่วมกับลูกค้า และเราหวังว่าคุณจะเป็นหนึ่งในนั้น
COMPARE PACKAGES
เรายินดีคืนเงินค้าบริการ 100% เพื่อให้คุณมั่นใจได้ว่าทุกๆ ครั้งในการใช้บริการ จะไม่ผิดหวังแน่นอน
BASIC
฿xxxx
cost per site
GTmetrix PageSpeed Score B (80%+) **GTmetrix only
- Minification
- Resize Photos
- Browser Caching
- Database Optimization
- Software Version Upgrade
- WooCommerce Speed
STANDARD
฿2,999
cost per site
GTmetrix Score A (90%+), Website Load Time 1-7s **GTmetrix only
- Minification
- Resize Photos
- Browser Caching
- Database Optimization
- Software Version Upgrade
- WooCommerce Speed
รับปรับความเร็วเว็บไซต์
รับปรับความเร็วเว็บไซต์ รับทำ SEO ด้วยทีมงานมืออาชีพ การันตีผลงาน 100%